หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556

เว็บบล็อกสรุปผลการเรียนรู้ในรายวิชาการออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ของ นาย ธนากร วรสาร

การออกแบบและพัฒนาสินค้าคู่แข่ง


ส.1 สืบค้น (Researh) 

สินค้าคู่แข่ง

สินค้า / กล้วยตาก

ประเภทสินค้า / บริโภค

วัสดุบรรจุภัณฑ์ / กล่องพลาสติกใส
ขนาดบรรจุภัณฑ์ / กว้าง 10ซม. ยาว 16.5ซม.
สูง 5ซม.
ระบบการพิมพ์ที่ใช้ / กระดาษธรรมดาปริ้นสี

ผลิตโดย : กลุ่มแม่บ้านเกษตร ม.3 บ้าน  เชี่ยน ต.บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท

       ที่อยู่/เบอร์โทร : กลุ่มแม่บ้านเกษตร ม.3  บ้านเชี่ยน.บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท                T.087-156-3677

       ส่วนประกอบ : ขนุนอบแห้ง      รูปแบบการขาย : ขายปลีก-ส่ง

       ราคา : 20-30 บาท    น้ำหนัก/ปริมาตรสุทธิ: 200  กรัม



แยกตามหมายเลข


1. ป้ายและรายละเอียดสินมีขนาดเล็กทำให้มองเห็นไม่ชัดเจน

2. ป้ายสินค้าเป็นกระดาษอาจเสียหายหากโดนฝนหรือเปียกน้ำ

3. บรรจุภัณฑ์เป้นกล่องพลาสติกใสบางอาจแตกหักหรือชำรุดหากทำการ      ขนส่งสินค้า
4.เวลาแกะสินค้าลูกแม็กอาจหลุดและรวมไป กับสินค้าทำให้เป็นอันตรายต่อผู้บิโภคได้




ส2.สร้างสรรค์ตามสมมติฐาน(Resume)


การออกโลโก้ของสินค้ากล้วยตาก ชื่อ บาน่า
ใช้ตัวอักษร BANA ตัวหนาเป็นชื่อของโลโก้สินค้า เพื่อให้ดูมีความเป็นสากล ทันสมัยมากยิ่งขึ้น ใช้กรอบเป็นลวดลายด้านหลังตัวอักษร









การออกโลโก้ของสินค้ากล้วยตาก ชื่อ บาน่า
ภาพที่ตกแตกจากคอมพิวเตอรใช้ตัวอักษร BANA ตัวหนาเป็นชื่อของโลโก้สินค้า เพื่อให้ดูมีความเป็นสากล ทันสมัยมากยิ่งขึ้น ใช้ตัวอักษณหนาซองกันเป็นเพื่อมิติ ใช้กรอบเป็นลวดลายด้านหลังตัวอักษร

ภาพสินค้าจริง


ส่วนประกอบของโลโก้และฉลากสินค้า


ส.3 สรุปผล(Result)

ตัวสินค้าคู่แข่งนั้นมีฉลากสินค้าที่เป็นกระดาษปริ้นสี จึงเสียหายได้ง่าย 

และรูปภาพกับข้อมูลสินค้านั้นก็ไม่ชัดเจน บรรจุภัณฑ์เป็นกล่องพลาสติกใส
ค่อนข้างไม่แข็งแรง จัดส่งหรือเรียงสินค้าได้ยาก แล้วการซีนปิดใช้แม็ก เมื่อ
เวลาแกะอาจจะหลุดล่วงลงถุงเป็นอันตรายต่อผู้รับประทานได้
สิ่งที่แตกต่างจากสินค้าตัวเก่า คือเปลี่ยนรูปทรงบรรจุภัณฑ์ เพิ่มความแปลกให้ให้ตัวสินค้า ทำให้สิค้ามีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ไม่ใช้แม็ก เพื่อไม่ให้ลูกแม็กเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค รับประทานงานสะดวกต่อการพกพา

วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556

เว็บบล็อกสนับสนุนการเรียนรู้วิชา graphic design for packaging โดย นาย ธนากร วรสาร 5211307516 กลุ่ม 101


กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ 

การบ้านประจำสัปดาห์ สัปดาห์ที่ 2 ของการเรียนการสอน

ในรายวิชาการออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์






-ให้นักศึกษาสมัครเข้าระบบที่http://chandraonline.chandra.ac.th/claroline/index.phpเเล้วลงทะเบียนเรียนในวิชาการออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ ในกลุ่มเรียน 101 เพื่อทำแบบทดสอบก่อนเรียน



                                                                                                                                        -เข้าไปสมัครเป็นสมาชิกของhttps://www.surveycan.com/ เพื่อสร้างแบบสอบถามโดยใช้งานของแต่ละคนเป็นหัวข้อในการสร้างแบบสอบถาม





3. แบ่งกลุ่ม6กลุ่ม กลุ่มละ5คนเเล้วแจ้งชื่อสมาชิกกลุ่มในไดรฟ์https://drive.google.com/?tab=wo&authuser=0#folders/0BwdpUNs1N1FgNDNjOGlHRlpzN1k เพื่อทำโครงการออกแบบกลุ่มชัยนาท โดยมีคำสั่งดังนี้
- ตั้งชื่อกลุ่ม
- สร้างLogoกลุ่ม
- เลือกผลิตภัณฑ์ของฝากที่เกี่ยวกับเกตษกรรมของจังหวัดชัยนาทมาคนละ1 ผลิตภัณฑ์ แล้วหาข้อมูลของผลิตภัณฑ์นั้นๆให้ละเอียด และนำข้อมูลไปใส่ไว้ในโฟลเดอร์ของกลุ่มที่สร้างไว้https://drive.google.com/?tab=wo&authuser=0#folders/0BwdpUNs1N1FgNDNjOGlHRlpzN1k


วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556

การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ ARTD3302-Thanakorn

Butter Better Package Design Integrated Spoon




Not everyone remember to bring favorite spoon on a short trip. So the butter package design integrated a wooden spoon makes you enjoy a light breakfast without additional cutlery.

คนส่วนใหญ่ไม่ลืมที่จะนำช้อนที่ชื่นชอบในการเดินทางระยะสั้น ดังนั้น butterpackage designintegrated ช้อนไม้ที่ทำให้คุณเพลิดเพลินกับอาหารเช้าแสงโดยไม่ต้องมีดเพิ่มเติม





The simple but practical design concept came from designer Yeongkeun Jeong. As we can see from the images, the single-serve butter packageis shaped as a triangle. On the top, the common plastic cover is replaced by a wooden spoon so that the user can directly use it to spread inner butter. And according to different color marks and shortened descriptions, we can know the flavors of the butters.

แนวคิดการออกแบบที่เรียบง่าย แต่ในทางปฏิบัติมาจากนักออกแบบ Yeongkeun Jeong เราจะเห็นได้จากภาพที่เดียวเสิร์ฟ packageis เนยเป็นรูปสามเหลี่ยม ด้านบนฝาครอบพลาสติกทั่วไปจะถูกแทนที่ด้วยช้อนไม้เพื่อให้ผู้ใช้โดยตรงสามารถใช้มันในการแพร่กระจายเนยภายใน และเป็นไปตามเครื่องหมายสีที่แตกต่างกันและคำอธิบายสั้นเราสามารถรู้รสชาติของเนย

วันอาทิตย์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2556

การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ ARTD3302-Thanakorn

กิจกรรมสืบค้น การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์






การออกแบบกราฟิกสำหรับรรจุภัณฑ์

            
            การออกแบบกราฟิกหมายถึง การสร้างสรรค์ลักษณะ ส่วนประกอบภายนอกของโครงสร้าง บรรจุภัณฑ์ ให้สามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเข้าใจในอันที่จะให้ผลทางจิตวิทยา ต่อผู้อุปโภค บริโภคเช่น ให้ผลในการดึงดูดความสนใจ การให้มโนภาพถึงสรรพคุณ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ยี่ห้อผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิต ด้วยการใช้วิธี การออกแบบ การจัดวางรูป ตัวอักษร ถ้อยคำ โฆษณา เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ทางการค้า และอาศัยหลักศิลปะการจัดภาพให้เกิดการประสานกลมกลืน กันอย่างสวยงาม ตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้
            การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์สามารถสร้างสรรค์ได้ทั้งลักษณะ 2 มิติ บนพื้นผิวแผ่นราบของวัสดุ เช่น กระดาษ แผ่นพลาสติก แผ่นโลหะอาบดีบุก หรืออลูมิเนียม โฟม ฯลฯ ก่อนนำวัตถุต่าง ๆ เหล่านี้ประกอบกัน เป็นรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ ส่วนในลักษณะ 3 มิติก็อาจทำได้ 2 กรณีคือ ทำเป็นแผ่นฉลาก ( label) หรือแผ่นป้าย ที่นำไปติดบนแผ่นบรรจุภัณฑ์ประเภท rigid forms ที่ขึ้นรูปมาเป็นภาชนะบรรจุสำเร็จมาแล้ว หรืออาจจะสร้างสรรค์ บนผิวภาชนะบรรจุ รูปทรง 3 มิติ โดยตรงก็ได้เช่น ขวดแก้ว ขวดพลาสติกเป็นต้น ซึ่งลักษณะของการออกแบบกราฟิก บรรจุภัณฑ์นี้ส่วนใหญ่มักถือตามเกณฑ์ของเทคนิคการพิมพ์ในระบบต่างๆเป็นหลัก

ความหมายของการบรรจุภัณฑ์ (Packaging)
การบรรจุภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการตลาด โดยเฉพาะปัจจุบันที่การผลิตสินค้า หรือบริการได้เน้นหรือให้ความสำคัญกับผู้บริโภค (Consumer Oriented) และจะได้เห็นว่าการบรรจุภัณฑ์มีบทบาทมากขึ้นเพราะลำพังตัวสินค้าเองไม่มีนวัตกรรม (Innvoation) หรือการพัฒนาอะไรใหม่อีกแล้ว ฉีกแนวไม่ออกเพราะได้มีการวิจัยพัฒนากันมานานจนถึงขั้นสุดยอดแล้ว จึงต้องมาเน้นกันที่บรรจุภัณฑ์กับการบรรจุหีบห่อ (Packaging) บรรจุภัณฑ์กับหีบห่อ (Package)